สมเด็จพระแก้วมณีโชติ…..(๕)

ความพิเศษของยันต์หลัง เป็น นะ ประทับหลังพระวิษณุ ซึ่งมีความพิเศษคือ ยันต์ดังกล่าวปรากฏอยู่ในอกเลา 6 เหลี่ยม พระอุโบสถของวัดสระแก้วปทุมทอง จังหวัดพิษณุโลก ซ่งถูกดัดแปลงมาจาก

สมเด็จพระแก้วมณีโชติ…..(๔)

เอกลักษณ์ พระพิมพ์ สมเด็จพระแก้วมณีโชติ ประการที่ 1 พระพิมพ์ใหญ่มีจำนวนจำกัดเพียง 1,760 องค์เท่านั้น(รวมที่ชำรุดด้วย) ประการที่ 2 แต่ละชนิดแก่ผงมวลสารสำคัญไม่เท่ากัน เนื้อผง แก่เนื้อผงสมเด็จวัดระฆังฯและวัดบางขุนพรหม เนื้อสีขาวชั้นเยี่ยม แก่เนื้อผงเกสรดอกไม้ 108 ชนิด เนื้อสีดำชั้นเยี่ยม แก่เนื้อผงตะไบพระกริ่งวัดสุทัศนเทพวราราม(พระชินราชอินโดจีน) เนื้อสีอิฐและสีอรุณ … More

สมเด็จพระแก้วมณีโชติ…..(๓)

ในปี พ.ศ. 2514 พุทธสมาคมจังหวัดพิษณุโลก ทราบว่า ท่านพระครูศีลสารสัมบัน (สำรวย สมฺปนฺโน) เจ้าอาวาสวัดสระแก้วปทุมทอง และเจ้าคณะอำเภอเมืองพิษณุโลก เป็นพระเถราจารย์ที่เก็บสะสมมวลสารไว้มาก จึงได้กราบอาราธนานิมนต์ให้ ท่านพระครูศีลสารสัมบันเป็นแม่งานรับผิดชอบในการจัดสร้างพระเครื่องชนิดผง และดินผสมผงเก่า เพื่อใช้ในการพิธีจักรพรรดิมหาพุทธาภิเษก วันที่ 19 – 20 มกราคม … More

สมเด็จพระแก้วมณีโชติ…..(๒)

กระทู้นี้จะกล่าวถึงประวัติของพระพุทธรัตนมณีโชติ พระประธานอุโบสถวัดสระแก้วปทุมทอง จังหวัดพิษณุโลกเพื่อให้ศรัทธาของผู้อาราธนาพระเครื่องพิมพ์นี้ได้มั่นใจในพระเครื่องและพระอาจารย์ที่ได้สร้างพระ

สมเด็จพระแก้วมณีโชติ…..(๑)

ในปัจจุบัน ราคาบูชาพระเครื่องขยับไปเยอะพอสมควร รวมทั้งพระเครื่องเกจิอาจารย์ที่ออกใหม่ พระดีพิธีใหญ่ต่างก็ขยับไปมาก หนึ่งในนั้นคือพระในพิธีมหาจักรพรรดิปี๒๕๑๕ ย้อนไปสักห้าปีก่อน พระเนื้อดินพิมพ์ชินราชคงแค่หลักร้อยนิดๆ ปัจจุบันคงร้อยกลางๆแล้ว ยังไม่นับของเก๊ที่ออกมาให้สับสนอีก หนทางหนึ่งที่ผมมักใช้ประจำคือการสืบหาว่ามีพระที่นำมาร่วมพิธีอีกไหม บังเอิญได้คำตอบว่ามี ด้วยความช่วยเหลือจากวิกกพีเดียและเวปซื้อขายพระเครื่องที่ต่างคัดลอกเอาข้อมูลมาประกอบการซื้อขาย….ผมขออนุญาตคัดลอกเฉพาะที่เกี่ยวกับพระพิมพ์สมเด็จพระแก้วมณีโชติ